Page 39 - ip_toolkit_china_book_final
P. 39

C
               ขั้นตอนการขอรับความคุ้มครอง
               สิทธิบัตรการประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรในประเทศจีน


               ขั้นตอนที่ 1   การสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร


                 ก่อนยื่นขอรับคว�มคุ้มครองสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรในประเทศจีน ก�รสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตรถือเป็นขั้นตอนที่มีคว�มจำ�เป็น
            สำ�หรับผู้ประกอบก�รอย่�งม�ก เนื่องจ�กก�รสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตรจะช่วยให้ส�ม�รถนำ�แนวท�งม�ต่อยอดหรือประยุกต์ใช้กับ
            ธุรกิจของตนเองได้ และที่สำ�คัญยังช่วยให้รู้ว่�ท่�นอ�จกระทำ�ก�รละเมิดสิทธิบัตรของบุคคลอื่นอยู่หรือไม่ด้วย
                 วิธีก�รสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรให้มีประสิทธิภ�พ ผู้ประกอบก�รควรดำ�เนินก�ร ดังนี้
                 •  สืบค้นจ�กฐ�นข้อมูลสิทธิบัตรทั้งในประเทศและต่�งประเทศ โดยไม่เสียค่�ใช้จ่�ย เช่น
                     •  ฐ�นข้อมูลของสำ�นักง�นทรัพย์สินท�งปัญญ�แห่งช�ติจีน (CNIPA)
                     •  ฐ�นข้อมูลขององค์ก�รทรัพย์สินท�งปัญญ�โลก (WIPO Patent Scope)
                     •  ฐ�นข้อมูลของสำ�นักง�นสิทธิบัตรและเครื่องหม�ยก�รค้�แห่งสหรัฐอเมริก� (USPTO)
                     •  ฐ�นข้อมูลของกรมทรัพย์สินท�งปัญญ� กระทรวงพ�ณิชย์ (DIP THAILAND)
                 •  สืบค้นจ�กเอกส�รที่เกี่ยวข้องกับก�รประดิษฐ์ที่จะขอรับสิทธิบัตรทั้งหมด เช่น ประก�ศโฆษณ�แบบรูปเล่มหรือรูปแบบ
                    อิเล็กทรอนิกส์ หรือข้อมูลต่�ง ๆ ที่เผยแพร่ผ่�นเว็บไซต์ รวมถึงสื่อออนไลน์ทุกประเภท
                 •  ขอรับคำ�แนะนำ�ในก�รสืบค้นและวิเคร�ะห์ข้อมูลที่ศูนย์ให้คำ�ปรึกษ�ด้�นทรัพย์สินท�งปัญญ� (Intellectual Property
                    Advisory Center: IPAC) ชั้น 4 กรมทรัพย์สินท�งปัญญ� กระทรวงพ�ณิชย์ หรือท�งส�ยด่วน 1368

              ขั้นตอนที่ 2   การขอรับคำาปรึกษาจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                 ผู้ประกอบก�รส�ม�รถขอรับคำ�ปรึกษ�เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวท�งก�รจดทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศจีนได้ที่ศูนย์ให้
            คำ�ปรึกษ�ด้�นทรัพย์สินท�งปัญญ� (Intellectual Property Advisory Center: IPAC) ชั้น 4 กรมทรัพย์สินท�งปัญญ�
            กระทรวงพ�ณิชย์ หรือท�งส�ยด่วน 1368


              ขั้นตอนที่ 3   การตัดสินใจว่าจะจดทะเบียนสิทธิบัตรผ่านระบบใด

                 ผ้ประกอบก�รท่ต้องก�รจดทะเบียนสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรในประเทศจีนควรตัดสินใจว่�จะขอรับคว�มค้มครอง
                             ี
                                                                                                     ุ
                  ู
            ผ่�นระบบคำ�ขอจดสิทธิบัตรภ�ยในประเทศ หรือจดผ่�นระบบคำ�ขอระหว่�งประเทศ (International System) หรือระบบ PCT
            เนื่องจ�กแต่ละระบบมีขั้นตอน ค่�ธรรมเนียม ระยะเวล�พิจ�รณ�คำ�ขอ รวมถึงก�รดำ�เนินก�รอื่น ๆ ที่แตกต่�งกันต�มร�ยละเอียด
            ในต�ร�งเปรียบเทียบคว�มแตกต่�งระบบขอรับคว�มค้มครองสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรภ�ยในประเทศและระหว่�งประเทศ
                                                   ุ

                  3.1 ระบบคำ�ขอภ�ยในประเทศ (National System)
                 ระบบคำ�ขอภ�ยในประเทศ (National System) เป็นระบบขอรับคว�มคุ้มครองสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตร
                                         ุ
            ภ�ยใต้อนุสัญญ�กรุงป�รีสว่�ด้วยคว�มค้มครองทรัพย์สินอุตส�หกรรม (Paris Convention for the Protection of Industrial
            Property) หรือเรียกว่� “ระบบ Paris Convention” โดยมีหลักก�รสำ�คัญในเรื่องของก�รขอถือสิทธิย้อนหลัง (Right of
            Priority) ทำ�ให้ผู้ประกอบก�รซึ่งเคยยื่นคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิบัตรประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรในประเทศไทยเอ�ไว้แล้ว ห�กต่อม�
            ภ�ยในระยะเวล� 12 เดือน ต้องก�รยื่นสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตรอย่�งเดียวกันในประเทศจีน หลักก�รขอถือสิทธิ
            ย้อนหลังจะมีผลทำ�ให้วันที่ยื่นคำ�ขอจดทะเบียนในประเทศจีนเป็นวันเดียวกันกับวันที่ยื่นคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิบัตรก�รประดิษฐ์/
            อนุสิทธิบัตรในประเทศไทย ระบบ Paris Convention เหม�ะสำ�หรับผู้ประกอบก�รที่ต้องก�รยื่นจดสิทธิบัตรร�ยประเทศเท่�นั้น
            ซึ่งระบบนี้ส�ม�รถใช้กับก�รจดทะเบียนสิทธิบัตรก�รออกแบบผลิตภัณฑ์ได้เช่นกัน โดยร�ยละเอียดจะกล่�วไว้ในบทถัดไป





                                                               31
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44