Page 58 - ip_toolkit_china_book_final
P. 58

ผู้เดียวที่จะสงวนไว้เพื่อเชื่อมโยงระหว่�งตนเองกับง�นอันมีลิขสิทธิ์ของตน เช่น ก�รอ้�งตนเป็นผู้สร้�งสรรค์ หรือก�รห้�ม
               บุคคลอื่นบิดเบือน ตัดทอน เปลี่ยนแปลง หรือทำ�ก�รใด ๆ จนเกิดคว�มเสียห�ยต่อชื่อเสียงและเกียรติคุณของเจ้�ของลิขสิทธิ์
               ซึ่งสิทธินี้จะยังเป็นของผู้สร้�งสรรค์ง�นคนแรกเสมอ แม้ว่�จะได้โอนง�นอันมีลิขสิทธิ์ให้บุคคลอื่นไปแล้วก็ต�มโดยขอจำ�แนก
               ร�ยละเอียดของสิทธิแต่ละประเภท ดังนี้


                    1. สิทธิทางเศรษฐกิจ (Economic rights)
                         •  การทำาซ้ำาหรือดัดแปลง
                         ก�รทำ�ซ้ำ� คือ ก�รคัดลอกหรือทำ�สำ�เน�ซึ่งง�นลิขสิทธิ์ในส่วนที่เป็นส�ระสำ�คัญ ไม่ว่�ทั้งหมดหรือบ�งส่วน
                    ของง�น เช่น ก�รอัดภ�พ ก�รอัปโหลดหรือด�วน์โหลด
                         ก�รดัดแปลง คือ ก�รทำ�ซ้ำ�โดยเปลี่ยนรูปแบบใหม่ ก�รปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม หรือก�รจำ�ลองง�นต้นฉบับ
                    ในส่วนอันเป็นส�ระสำ�คัญโดยไม่มีลักษณะเป็นก�รจัดทำ�ง�นขึ้นใหม่ ไม่ว่�ทั้งหมดหรือบ�งส่วน แต่ไม่ได้แตกต่�ง
                    จนถึงขน�ดเกิดเป็นง�นลิขสิทธิ์ขึ้นใหม่ เช่น ก�รปรับเปลี่ยนภ�พสองมิติเป็นแอนิเมชันส�มมิติ
                         •  การเผยแพร่ต่อสาธารณชน
                         ก�รทำ�ให้ง�นอันมีลิขสิทธิ์ปร�กฏต่อส�ธ�รณชนตั้งแต่สองคนขึ้นไป ภ�ยใต้วัตถุประสงค์เชิงพ�ณิชย์ด้วย
                    วิธีก�รต่�ง ๆ ทั้งท�งเสียงและ/หรือ ภ�พ เช่น ก�รแสดง ก�รบรรย�ย ก�รสวด ก�รบรรเลง เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้ง�นจะ
                    ต้องขออนุญ�ตเจ้�ของลิขสิทธิ์ก่อนเสมอ
                         •  ให้เช่าต้นฉบับหรือสำาเนา ของง�นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภ�พยนตร์ หรือสิ่งบันทึกเสียง
                         •  ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น เช่น มอบสิทธิประโยชน์หรือค่�ตอบแทนที่ได้จ�กก�รข�ยหรือ
                             ให้เช่�ลิขสิทธิ์ของตนแก่ผู้อื่น
                         •  อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ ทำาซ้ำา ดัดแปลง เผยแพร่ เช่าต้นฉบับหรือสำาเนา โดยกำ�หนดเงื่อนไขอย่�งใด
                             หรือไม่ก็ได้ ที่ไม่เป็นก�รจำ�กัดก�รแข่งขันโดยไม่เป็นธรรม




                    2. สิทธิทางศีลธรรม (Moral rights)
                         หม�ยถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของเจ้�ของลิขสิทธิ์ที่จะสงวนไว้เพื่อเชื่อมโยงระหว่�งตนกับง�นอันมีลิขสิทธิ์
                    ของตน โดยผู้สร้�งสรรค์ มีสิทธิดังนี้
                         •  แสดงตนเป็นผู้สร้�งสรรค์
                         •  ห้�มมิให้ผู้อื่นบิดเบือน ตัดทอทน เปลี่ยนแปลง หรือทำ�ก�รใด ๆ จนเกิดคว�มเสียห�ยต่อชื่อเสียงและ
                             เกียรติคุณของตนในฐ�นะผู้สร้�งสรรค์ ทั้งนี้ สิทธิดังกล่�วจะเป็นของผู้สร้�งสรรค์ง�นคนแรกเสมอ แม้ว่�
                             จะได้โอนง�นอันมีลิขสิทธิ์ให้ผู้อื่นไปแล้วก็ต�ม



                 สิทธิข้างเคียง (Neighboring rights)


                   เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นเมื่อมีก�รเผยแพร่ผลง�นของผู้สร้�งสรรค์ให้กับส�ธ�รณชน ดังนั้น สิทธิดังกล่�วจึงเกี่ยวข้องกับนักแสดง
               ผู้จัดพิมพ์ สถ�นีโทรทัศน์/วิทยุ และผู้จัดทำ�วิดีทัศน์/เสียงบันทึก เป็นต้น
                   ทั้งนี้ เจ้�ของสิทธิข้�งเคียง (Neighbouring rights) จะได้รับก�รคุ้มครองสิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive rights)
               ในก�รแสดงของตน และส�ม�รถใช้สิทธิท�งศีลธรรมและสิทธิเจ้�ของลิขสิทธิ์บ�งประก�ร ได้แก่ ก�รเผยแพร่ผลง�นหรือก�รแสดง
               ของตนต่อส�ธ�รณชน ก�รบันทึกผลง�นหรือก�รแสดงและก�รทำ�ซ้ำ� ให้เช่� และจำ�หน่�ยต้นฉบับและสำ�เน�ของสิ่งบันทึกหรือ
               ผลง�น ที่บันทึกไว้โดยไม่ได้รับอนุญ�ต หรือได้รับอนุญ�ตเพื่อวัตถุประสงค์อื่น หรืออนุญ�ตให้บันทึกภ�ยใต้ข้อยกเว้นก�รละเมิด
               สิทธิของเจ้�ของสิทธิ
                   ดังนั้น ห�กบุคคลใดต้องก�รกระทำ�ใด ๆ ข้�งต้นภ�ยใต้วัตถุประสงค์เชิงพ�ณิชย์ จะต้องได้รับอนุญ�ตจ�กเจ้�ของสิทธิข้�ง
               เคียง (Neighboring rights) ก่อน






                                                      50
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63